- ห้องปรึกษา
- 외국인노동자와 함께 하는 WORK IN KOREA
อื่นๆ
อื่น ๆ.
ไม่ได้รับเบี้ย OT ในระยะเวลาฝึกงาน จะขอได้ไหม
ระยะเวลาฝึกงานคืระยะเวลาเพื่อปรับตัวเข้ากับสภาพโรงงาน ซึ่งไม่เกิน 3 เดือนและต้องได้รับค่าแรงมากกว่า 90% ของค่าจ้างขั้นต่ำในช่วงเวลาฝึกงานก็ใช้ระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ เช่น เบี้ย OT หรือเบี้ยวันหยุดประจำ กรณีทำงานล่วงเวลาในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 5 คนขึ้นไปนั้น ต้องเพิ่ม 50% ขึ้นจากค่าแรงในระยะเวลาฝึกงาน
กำลังจะไปเยี่ยมประเทศไทย ไม่ทราบว่าต้องรายงานที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองด้วยหรือเปล่า
ลูกจ้างต่างชาติสามารถไปเยี่ยมประกทศของตนชั่วคราวโดยไม่ต้องการแจ้ง แต่ต้องขอรับการยืนยันจากนายจ้างและต้องกลับภายในระยะเวลาอยู่อาศัย
ฉันเป็นแรงงานเวียดนามทำงานงานอยู่ที่บริษัทอุสาหกรรม นายจ้างใช้ให้ทำงานชว่งสุดสัปดาห์แต่ไม่ยอมทำนายจ้างเลยยกเลิกการทำงานกรณีอย่างนี้จะทำอย่างไร
มารตตราฐานกฏหมายแรงงานที่30ผู้ที่ใช้แรงงานถ้าไม่มีเหตุผลที่สมเหตุสมผลไม่สามารถที่จะยกเลิกได้ อาทิเช่นพนักงานชั่วคราว,การหยุดงานชั่วคราว,การเปลี่ยนอาชีพ,การลดเงินเดือนและอื่นๆเหล่านี้เป็นต้น
กฏเวลาทำงานนอกจากเวลางานแล้วระหว่งนายจ้างและแรงงานจะต้องมีการตกลงกันแต่ถ้ามีการปฏิเสธโดยเหตุผลอันสมควรไม่สามารถยกเลิกได้
นายจ้างใช้ให้ทำงานชั่วสุดสัปดาห์แต่แรงงานกลับปฏิเสธโดยมีเหตุผลแต่นายจ้างกลับยกเลิกในลักษณะนี้ถือว่าผ่าผืนกฏหมายแรงงานท่านสามารถขอยื่นร้องเรียนไปยังศาลแพ่งเพื่อขอความเป็นธรรมได้ การคุ้มครองและการขอความชว่ยเหลือนั้นเป็นปัญหาที่แตกต่างกันกับการย้ายงานถึงแม้ว่านายจ้างยกเลิกการว่าจ้าง
สามารถขอยื่นเรื่องย้ายงานได้ด้วยเหตุผลที่เพียงพอถ้าไม่อยากทำงานอยู่ที่นี่อีกควรไปติดต่อขอยื่นเรื่องที่(โคยงจีวอนเซ็นต์เตอร์เขต)เพื่อที่จะขอทำเรื่องย้ายงาน
ฉันเป็นแรงงานเวียดนามทำงานอยู่ที่เดจอนไม่สบายก็เลยหยุดงานเมื่อวานออกไปทำงานนายจ้างถามว่าทำไมถึงหยุดดาแล้วเอากำปั้นชกที่ใบหน้าโดนชว่งฟันฟันโยกใบหน้ามีอาการบวม กรณีอย่างนี้จะได้รับเงินชดเชยได้อย่างไร
ตามกฏหมานมาตรฐานแรงงานจะไม่มีการทำลาย หรือตบตีแรงงานใดๆได้
ในกรณีนี้แรงงานจะต้องทำการตกลงกันกับนายจ้างเป็นการดีที่สุด,ถ้าตกลงกันกับนายจ้างไม่ได้จะต้องขอยื่นเรื่องขึ้นที่ศาลเท่านั้น ขั้นตอนจะต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับการทำรายที่ตรงเอกสารใบรับรองแพทย์แจ้งเรื่องที่สถานตำรวจนำเอกสารแจ้งความไปยื่นที่กระทรวงแรงงานกระทรวงแรงงานแจ้งเรื่องมาให้ทั้งสองเข้ารว่มการสอบสวน(พีเฮจา)แรงงานน และ พีอึยจา(นายจ้าง)
ลักษณะที่ตกลงกันไม่ได้ตามที่ต้องการนั้นนายจ้างจะต้องไดัรับการลงโทษขอหาผ่าผืนกฏหมายแรงงานจะต้องได้รับค่าชดเชยอย่างถูกต้อง
แต่การขอยื่นเรื่องซึ่งเป็นการยุ่งยากลำบากและเสียเวลาถ้าเป็นไปได้ควรทำการตกลงกันให้ได้จะเป็นการดีที่สุด
ฉันให้หนังสือเดินทางทางบริษัทเพื่อจะลงทะเบียนคนต่างชาติ แตะนายจ้างเก็บหนังสือเดินทางกับบัตรคนต่างชาติของเราอยู่และไม่คืน เป็นไปได้ไหม
การเก็บหนังสือเดินทางของลูกจ้างต่างชาติและไม่คืนให้ถือเป็นการละเมิดสิทธ์มนุษยชนและผิดกฎหมายต่อพ.ร.บ. ตรวจคนเข้าเมืองด้วย ต้องขอทางกับนายจ้างและลูกจ้างเก็บหนังสือเดินทางกับบัตรคนต่างชาติของตนเอง
แรงงานได้ขยายระยะเวลาการพำนักหนึ่งปีให้อัตโนมัติ ต้องสมัครไหม
แรงงานต่างชาติที่มีระยะเวลาการจ้างงาน (3 ปี หรือ 4 ปี 10 เดือน) ที่ระยะเวลาการจ้างงานจะสิ้นสุดลงในวันที่กฎหมายฉบับแก้ไขมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน 2564 จนถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2564 จะได้รับการขยายระยะเวลาในฐานะแรงงานต่างชาติ (วีซ่า E-9, H-2) ตาม「พ.ร.บ.การจ้างงานแรงงานต่างชาติ」
-
- แรงงานต่างชาติทั่วไป(วีซ่า E-9) ที่ได้รับการขยายระยะเวลาการจ้างงาน 50 วัน หากระยะเวลาการจ้างงานที่ขยายออกไปสิ้นสุดลงระหว่างวันที่ 13 เมษายน 2564 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2564 จะได้รับการขยายระยะเวลาให้เป็น 1 ปี
- ด้านมาตรการขยายระยะเวลานั้น ทางรัฐบาลมีแผนจะขยายเวลาให้ โดยที่แรงงานต่างชาติและนายจ้างไม่ต้องยื่นขอขยายระยะเวลาพำนักอาศัยและระยะเวลาการจ้างงานรายบุคคล
นายจ้างจะต้องยื่นขอขยายระยะเวลาสัญญาจ้างกับแรงงานต่างชาติและขยายระยะเวลาใบอนุญาตการจ้างงานให้สอดคล้องกัน